SCB E-calendar 2022

1 1 วันขึ้นป‚ ใหม‹ / 3 ชดเชยวันขึ้นป‚ ใหม‹ / 8 วันเด็กแห‹ งชาติ / 16 วันครู / 30 วันก‹ อตั้งธนาคารไทยพาณิชย จำกัด (มหาชน) 1 มกราคม - 15 เมษายน วันอาทิตย วันธงชัย / วันจันทร วันอธิบดี / วันเสาร วันอุบาทว / วันพุธ วันโลกาวินาศ อาทิตย I Sun จันทร I Mon อังคาร I Tue พุธ I Wed ศุกร I Fri เสาร I Sat พฤหัสบดี I Thu ม ก ร า ค ม ๒ ๕ ๖ ๕ J a n u a r y 2 0 2 2 2 3 4 5 6 7 8 แรม 14 ค่ำ เดือน 1 11 12 13 14 15 9 10 ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 2 21 22 17 18 19 20 16 ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 2 27 28 29 25 26 24 23 31 30 แรม 8 ค่ำ เดือน 2

5 1 วันตรุษจีน / 16 วันมาฆบูชา อาทิตย I Sun จันทร I Mon อังคาร I Tue พุธ I Wed ศุกร I Fri เสาร I Sat พฤหัสบดี I Thu กุ ม ภ า พั น ธ ๒ ๕ ๖ ๕ F e b r u a r y 2 0 2 2 11 12 8 9 10 1 2 3 4 6 7 17 18 19 13 14 15 16 21 22 23 24 25 26 20 27 28 แรม 15 ค่ำ เดือน 2 ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 3 ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 แรม 8 ค่ำ เดือน 3

อาทิตย I Sun จันทร I Mon อังคาร I Tue พุธ I Wed ศุกร I Fri เสาร I Sat พฤหัสบดี I Thu มี น า ค ม ๒ ๕ ๖ ๕ M a r c h 2 0 2 2 แรม 14 ค่ำ เดือน 3 ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 4 ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 แรม 8 ค่ำ เดือน 4 5 11 12 8 9 10 1 2 3 4 6 7 17 18 19 13 14 15 16 23 24 25 26 31 30 21 22 20 27 28 29

2 6 วันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ‡ าจุฬาโลกมหาราช และวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ / 13 - 15 วันสงกรานต 16 เมษายน - 31 ธันวาคม วันพุธ วันธงชัย / วันอังคาร วันอธิบดี / วันอังคาร วันอุบาทว / วันพฤหัสบดี วันโลกาวินาศ อาทิตย I Sun จันทร I Mon อังคาร I Tue พุธ I Wed ศุกร I Fri เสาร I Sat พฤหัสบดี I Thu เ ม ษ า ย น ๒ ๕ ๖ ๕ A p r i l 2 0 2 2 8 9 1 3 4 5 6 7 11 12 13 14 15 16 10 21 22 23 17 18 19 20 24 25 27 28 29 30 26 แรม 15 ค่ำ เดือน 4 ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 5 ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 5 แรม 8 ค่ำ เดือน 5 แรม 14 ค่ำ เดือน 5

7 1 วันแรงงานแห‹ งชาติ / 2 ชดเชยวันแรงงานแห‹ งชาติ / 4 วันฉัตรมงคล / 13 วันพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ / 15 วันวิสาขบูชา / 16 ชดเชยวันวิสาขบูชา อาทิตย I Sun จันทร I Mon อังคาร I Tue พุธ I Wed ศุกร I Fri เสาร I Sat พฤหัสบดี I Thu พ ฤ ษ ภ า ค ม ๒ ๕ ๖ ๕ M a y 2 0 2 2 11 12 13 14 8 9 10 1 2 3 4 5 6 21 17 18 19 20 15 16 27 28 22 23 24 25 26 29 30 31 แรม 15 ค่ำ เดือน 6 ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 6 ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 แรม 8 ค่ำ เดือน 6

4 3 วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจŒ าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี อาทิตย I Sun จันทร I Mon อังคาร I Tue พุธ I Wed ศุกร I Fri เสาร I Sat พฤหัสบดี I Thu มิ ถุ น า ย น ๒ ๕ ๖ ๕ J u n e 2 0 2 2 11 8 9 10 1 2 3 5 6 7 17 18 12 13 14 15 16 21 22 23 24 25 19 20 27 26 28 29 30 ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 7 ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 7 แรม 8 ค่ำ เดือน 7 แรม 14 ค่ำ เดือน 7

13 วันอาสาฬหบูชา / 14 วันเขŒ าพรรษา / 28 วันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจŒ าอยู‹ หัว / 29 วันหยุดพิเศษ (เพิ่มเติม) อาทิตย I Sun จันทร I Mon อังคาร I Tue พุธ I Wed ศุกร I Fri เสาร I Sat พฤหัสบดี I Thu ก ร ก ฎ า ค ม ๒ ๕ ๖ ๕ J u l y 2 0 2 2 2 8 9 1 3 4 5 6 7 11 12 13 14 15 16 10 21 22 23 17 18 19 20 25 27 28 29 30 26 24 31 ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 8 ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8 แรม 8 ค่ำ เดือน 8 แรม 15 ค่ำ เดือน 8

12 วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจŒ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันป‚ หลวง และวันแม‹ แห‹ งชาติ อาทิตย I Sun จันทร I Mon อังคาร I Tue พุธ I Wed ศุกร I Fri เสาร I Sat พฤหัสบดี I Thu สิ ง ห า ค ม ๒ ๕ ๖ ๕ A u g u s t 2 0 2 2 ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 9 ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 9 แรม 8 ค่ำ เดือน 9 แรม 14 ค่ำ เดือน 9 6 12 13 5 11 8 9 10 1 2 3 4 7 17 18 19 20 14 15 16 27 21 22 23 24 25 26 28 29 31 30

3 อาทิตย I Sun จันทร I Mon อังคาร I Tue พุธ I Wed ศุกร I Fri เสาร I Sat พฤหัสบดี I Thu กั น ย า ย น ๒ ๕ ๖ ๕ S e p t e m b e r 2 0 2 2 8 9 10 1 2 4 5 6 7 17 11 12 13 14 15 16 21 22 23 24 18 19 20 25 26 27 28 29 30 ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 10 ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 แรม 8 ค่ำ เดือน 10 แรม 15 ค่ำ เดือน 10

10 วันปวารณาออกพรรษา / 13 วันคลŒ ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร / 14 วันหยุดพิเศษ (เพิ่มเติม) / 23 วันป ยมหาราช / 24 ชดเชยวันป ยมหาราช อาทิตย I Sun จันทร I Mon อังคาร I Tue พุธ I Wed ศุกร I Fri เสาร I Sat พฤหัสบดี I Thu ตุ ล า ค ม ๒ ๕ ๖ ๕ O c t o b e r 2 0 2 2 ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 11 ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 1 2 3 4 5 6 7 8 11 12 13 14 15 9 10 21 22 17 18 19 20 16 27 28 29 25 26 24 23 31 30 แรม 8 ค่ำ เดือน 11 แรม 14 ค่ำ เดือน 11

8 วันลอยกระทง อาทิตย I Sun จันทร I Mon อังคาร I Tue พุธ I Wed ศุกร I Fri เสาร I Sat พฤหัสบดี I Thu พ ฤ ศ จิ ก า ย น ๒ ๕ ๖ ๕ N o v e m b e r 2 0 2 2 ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 12 ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 แรม 8 ค่ำ เดือน 12 แรม 15 ค่ำ เดือน 12 5 11 12 8 9 10 1 2 3 4 6 7 17 18 19 13 14 15 16 23 24 25 26 30 21 22 20 27 28 29

5 วันคลŒ ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร วันชาติ และวันพ‹ อแห‹ งชาติ / 10 วันพระราชทานรัฐธรรมนูญ / 12 ชดเชยวันพระราชทานรัฐธรรมนูญ / 25 วันคริสต มาส / 30 วันหยุดพิเศษ (เพิ่มเติม) / 31 วันสิ้นป‚ อาทิตย I Sun จันทร I Mon อังคาร I Tue พุธ I Wed ศุกร I Fri เสาร I Sat พฤหัสบดี I Thu ธั น ว า ค ม ๒ ๕ ๖ ๕ D e c e m b e r 2 0 2 2 ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 1 ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 2 ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 1 แรม 8 ค่ำ เดือน 1 แรม 14 ค่ำ เดือน 1 3 8 9 10 1 2 4 5 6 7 17 11 12 13 14 15 16 21 22 23 24 18 19 20 25 26 30 31 27 28 29

ฉันอยากทำอะไรบ างในป นี้ : ลิสต รายการสิ่งที่อยากทำให สำเร็จในป นี้ ไม ว าจะเป นเรื่องที่เกี่ยวข องกับตัวเองหรือคนรอบข าง การทบทวนสิ่งที่อยากทำ คือ แผนที่นำทางในการเริ่มต นสิ่งใหม ที่ดีต อชีวิตคุณ เริ่มจากเรื่องเล็กไปสู เรื่องใหญ : เป าหมายเล็กๆ เมื่อทำสำเร็จก็จะรู สึกสนุก และอยากไปให ถึงเป าหมายต อๆ ไป นำความสำเร็จมาปรับให ติดเป นนิสัย : ทุกครั้งที่บรรลุเป าหมาย ให เลือกเก็บสิ่งดีๆ มาปรับใช ให ติดเป นนิสัย วันขึ้นป ใหม 1 มกราคม 2565 สุขสันต วันป ใหม ตั้งเป าหมายดีๆ ให กับชีวิต

คำขวัญวันเด็ก 2565 โดย พล.อ.ประยุทธ จันทร โอชา นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว าการกระทรวงกลาโหม ได มอบคำขวัญเนื่องในวันเด็กแห งชาติ ประจำป 2565 ซึ่งตรงกับวันที่ 8 มกราคม 2565 ให กับเด็กๆ เยาวชนไทย เพื่อเป นข อคิดคติเตือนใจ กับอนาคตของชาติ นั่นก็คือ วันเด็กแห งชาติ 8 มกราคม 2565 "รู คิด รอบคอบ รับผิดชอบต อสังคม"

สีแดง : เป นสีที่เกี่ยวเนื่องกับไฟ ธาตุไฟในแผนภูมิโป ยก วยของจีน หมายถึง แสงสว าง ความอบอุ น พละกำลัง และความรุ งโรจน สีแดงจึงเป นสัญลักษณ แห งความโชคดีและความสุข สามารถพบการใช สีแดงได ทุกที่ ในช วงเทศกาลป ใหม จีน วันหยุดอื่นๆ และในการพบปะของครอบครัว ซองอั่งเปา : ซึ่งเป นเงินของขวัญที่จะได รับในสังคมจีนช วงวันหยุด หรือโอกาสพิเศษ มีการใช สีแดง ซึ่งเป นสัญลักษณ ของความโชคดีเช นกัน รู หรือไม สีแดงในความหมายของคนจีนคืออะไร "วันนี้มามอบซองอั่งเปาสีแดงเพื่อเป นการอวยพรป ใหม ให ผู รับได พบเจอแต ความสุขตลอดป กันเถอะ" วันตรุษจีน 1 กุมภาพันธ 2565

เหตุอัศจรรย ในวันมาฆบูชา 4 ประการ • เป นวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำ ดวงจันทรเสวยมาฆฤกษ (วันเพ็ญเดือน 3) • พระภิกษุ 1,250 รูป มาประชุมโดยมิไดนัดหมาย • พระภิกษุุเหล านั้นเป นพระอรหันต ผู ได อภิญญา 6 ทั้งหมด ไม มีพระภิกษุเป นปุถุชน หรือพระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามีแม สักรูปเดียวมาประชุมในครั้งนี้ • พระภิกษุทั้งหมดเป นผู ที่ได รับการบวชแบบเอหิภิกขุอุปสัมปทา ซึ่งพระบรมศาสดาทรงประทานการบวชให วันมาฆบูชา 16 กุมภาพันธ 2565

ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ.2325 สมเด็จเจ าพระยามหากษัตริย ศึก ได ขึ้นปราบดาภิเษก เป นปฐมกษัตริย แห งราชวงศ จักรี ขณะที่มีพระชนมายุได 46 พรรษา พระองค โปรดเกล าฯ ให ย ายราชธานีจากกรุงธนบุรีราชธานีเดิม ที่อยู ฝ งตะวันตกของแม น้ำเจ าพระยา มายังฝ งตะวันออกของแม น้ำเจ าพระยา พระองค โปรดให สร างพระราชวังหลวง และโปรดเกล าฯ ให อัญเชิญ พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรมาประดิษฐานยังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม หลังจากนั้นทรงพระกรุณาโปรดเกล าฯ ให จัดงานฉลองสมโภชพระนครเป นเวลา 3 วัน ครั้นการฉลองพระนครแล วพระองค พระราชทานนามพระนครแห งใหม ให ต องกับนาม พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรว า "กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานีบูรีรมย อุดมราชนิเวศน มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สักกะทัตติยวิษณุกรรมประสิทธิ์" หรือเรียกอย างสังเขปว า "กรุงเทพมหานคร" วันพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช และวันที่ระลึกมหาจักรีบรมราชวงศ 6 เมษายน 2565

วันสงกรานต และวันผูŠ สูงอายุแห งชาติ 13 เมษายน 2565 ในวันสงกรานต หรือวันขึ้นป ใหม ของไทย กำหนดให วันนี้ของทุกป เป น "วันผู สูงอายุแห งชาติ" เพื่อให ทุกคนตระหนักและให ความสำคัญ กับผู สูงอายุ ซึ่งป จจุบันมีผู สูงอายุมากขึ้น จึงเป นเรื่องที่ทุกครอบครัวควรใส ใจดูแล และสร างค านิยมอันดีงามต อการทำความเคารพผู สูงอายุ สนับสนุนกิจกรรมครอบครัว และการดูแลเอาใจใส คนรอบข าง สังคมไทยมักอยู ร วมกันเป นครอบครัวใหญ แต ด วยวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป บางครอบครัวอยู ต างจังหวัด แต ต องเข าไปทำงานอยู ในเมืองใหญ รวมถึงบางครอบครัวที่อยู บ านเดียวกัน แต ก็อาจต องทำงานจนมืดค่ำ ไม มีเวลาให กับครอบครัว ในวันสงกรานต หรือวันขึ้นป ใหม ของไทยจึงเป นโอกาสที่ดี ที่ได หยุดไปเยี่ยมพ อแม พี่น อง ญาติผู ใหญ และผู สูงอายุ ทุกคนได ใช เวลาอยู ด วยกันพร อมหน า ร วมกันทำบุญตักบาตร รดน้ำขอพรผูใหญ เป นกำลังใจให กันและกัน ทั้งยังแสดงความกตัญูต อผู ใหญ เติมเต็มความอบอุ นซึ่งกันและกันภายในครอบครัวอีกด วย

วันสงกรานต และวันครอบครัว 14 เมษายน 2565 สถาบันครอบครัวถือเป นรากฐานในการสร างสังคมให น าอยู เนื่องจากเป นจุดเริ่มต นของการอบรมเลี้ยงดู ปลูกฝ งคุณธรรม จริยธรรม ไปจนถึงถ ายทอดวัฒนธรรมอันดีงาม เสริมสร างความอบอุ นและความรัก เพื่อใหสมาชิกทุกคนเติบโตเป นคนดีในสังคม และสามารถใช ชีวิตอยู ร วมกับผู อื่น ได เป นอย างดี รู จักการให อภัย แก ป ญหาต างๆ ในชีวิตได "วันครอบครัว" จึงเป นวันที่สำคัญยิ่งที่คนในครอบครัว จะได มีเวลาใกล ชิด แสดงความอบอุ น ดูแลเกื้อกูลซึ่งกันและกันทุกป และยังเป นการฟ นฟูขนบธรรมเนียมประเพณีไทย เป นวันสำคัญที่คนไทยได เดินทางกลับบ านในช วงเทศกาล เข าวัดทำบุญอุทิศส วนกุศล รดน้ำดำหัว ขอพรจากผู ใหญ ทำกิจกรรมเพื่อกระชับความสัมพันธ กันระหว างสมาชิกในครอบครัว

วันสงกรานต 15 เมษายน 2565 หลังจากวันผู สูงอายุแห งชาติ วันครอบครัว ที่ทำให ทุกคนในครอบครัวได มีโอกาส เดินทางกลับบ านมาใช ช วงเวลาพิเศษร วมกัน อีกหนึ่งวันสำคัญที่เป นประเพณี สำหรับคนไทยนั่นก็คือ "วันสงกรานต " หมายถึง วันเปลี่ยนศักราชใหม กิจกรรมในวันสงกรานต จะเริ่มต นตั้งแต ช วงเช า • ร วมทำบุญตักบาตร อาจจะมีการเตรียมอาหารเอง และออกไปทำบุญร วมกับสมาชิกในครอบครัว ถือเป นการทำบุญเริ่มต นป ใหม ไทย • ก อเจดีย ทราย จากความเชื่อสมัยก อนที่เชื่อกันว า เมื่อมีคนเข ามาทำบุญที่วัดเมื่อเดินออกจากวัด ทรายจะติดตัวติดเท าออกไปด วย จึงมีกิจกรรมขนทรายเข าวัดเพื่อก อเจดีย ทราย ถือเป นกิจกรรมหนึ่งที่ช วยสร างความสามัคคีและการรวมใจเป นหนึ่งให กับหมู บ าน และประชาชนคนไทยทุกคน • การสรงน้ำพระพุทธรูป สักการะด วยดอกไม ธูปเทียนบูชา และพรมน้ำอบที่องค พระถือเป นพิธี แสดงความเคารพที่ใช น้ำเป นตัวแทนในการทำพิธี และยังใช รดน้ำดำหัวผู ใหญ เพื่อขอพร รวมไปถึงการเล นน้ำสงกรานต เพื่อเติมความสดชื่นในช วงหน าร อนอย างสนุกสนาน

ขอบคุณทุกความสำเร็จของประเทศ ที่มีรากฐานพลังที่ยิ่งใหญ จากสังคมของผู ใช แรงงาน ขอบคุณทุกสังคมของผู ใช แรงงาน พวกคุณ คือ ผู สร างและผู สนับสนุนรากฐานให ประเทศเติบโต วันแรงงานแห งชาติ 1 พฤษภาคม 2565

วันฉัตรมงคล 4 พฤษภาคม 2565 เป นวันรำลึกถึงพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เป นพระมหากษัตริย รัชกาลที่ 10 แห งราชวงศ จักรีและราชอาณาจักรไทยของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกลาเจ าอยู หัว เมื่อเสด็จขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติต อจากพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ.2559 จึงได ดำรงพระอิสริยยศเป น "พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล าเจ าอยู หัว" และพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล าเจ าอยู หัว ยังได มีพระปฐมบรมราชโองการ ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกไว ว า "เราจะสืบสาน รักษา และต อยอด และครองแผ นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน สุขแห งอาณาราษฎรตลอดไป" กิจกรรมที่พึงปฏิบัติในวันนี้ ได แก ประดับธงตามบ านและสถานที่ราชการ ทำบุญประกอบพิธีตามศาสนา และน อมเกล าน อมกระหม อม ถวายพระพรชัยโดยพร อมเพรียงกัน กล าวคำถวายอาศิรวาทราชสดุดี ให ทรงพระเกษมสำราญ ทรงเจริญพระชนมพรรษายิ่งยืนนาน

"ขาวเปลือก" หรือ "ขาวโพด" : พยากรณ ว า ธัญญาหาร (หมายถึงอาหาร คือ ข าว) ผลาหาร (ผลไม ) จะอุดมสมบูรณ ดี "ถั่ว" หรือ "งา" : พยากรณ ว า ผลาหาร ภักษาหาร (หมายถึงอาหารที่กินเป นประจำ เช น หญ า คือ ภักษาหารของวัว เนื้อสัตว คือ ภักษาหาร ของเสือ เป นต น) จะอุดมสมบูรณ ดี "เหล า" : พยากรณ ว า การคมนาคมจะสะดวกขึ้น การค าขาย กับต างประเทศจะดีขึ้น เศรษฐกิจจะรุ งเรือง "น้ำ" หรือ "หญ า" : พยากรณ ว า น้ำทาจะอุดมสมบูรณ พอสมควร ธัญญาหาร ผลาหาร มังสาหาร (หมายถึงเนื้อสัตว ) จะอุดมสมบูรณ ดี วันพืชมงคล จรดพระนังคัลแรกนาขวัญ 13 พฤษภาคม 2565

วันที่เกิดเหตุการณ สำคัญที่สุดในศาสนาพุทธสามเหตุการณ ด วยกัน คือ การประสูติ ตรัสรู และปรินิพพานของพระโคตมพุทธเจ า โดยทั้งสามเหตุการณ ได เกิด ณ วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6 หรือวันเพ็ญแห งเดือนวิสาขะ (ต างป กัน) ชาวพุทธจึงถือว าเป นวันที่ รวมการเกิดเหตุการณ อัศจรรย ยิ่ง และเรียกการบูชาในวันนี้ว า "วิสาขบูชา" ย อมาจาก "วิสาขปุรณมีบูชา" แปลวา "การบูชาในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ" อริยสัจ 4 1. ทุกข คือ ความไม สบายกาย ไม สบายใจ เป นสภาพของความลำบากทั้งทางกายและทางใจ ทั้งโลภ โกรธ หลง ความเศร าโศกเสียใจทั้งปวง เป นต น 2. สมุทัย คือ สาเหตุแห งทุกข นั้น ซึ่งความทุกข ทั้งปวงมักเกิดจากการไม รู ความไม เข าใจในโลก ความอ อนประสบการณ ในชีวิต ซึ่งความไม รู เหล านี้เป นสาเหตุแห งทุกข ทั้งปวง 3. นิโรธ คือ ความไม มีทุกข ซึ่งก็หมายถึงการเข าใจในสมุทัย ความเข าใจสาเหตุแห งทุกข ความเศร ามัวหมองทั้งปวง 4. มรรค คือ หนทางแห งการดับทุกข ซึ่งพระพุทธองค ตรัสไว ว า มรรคมีองค 8 หรือวิธีการดับทุกข ทั้งปวงนั้นมีอยู 8 ประการนั่นเอง วันวิสาขบูชา 15 พฤษภาคม 2565

วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจŠ าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี 3 มิถุนายน 2565 ขอพระองคทรงพระเจริญ ด วยเกล าด วยกระหม อม ขอเดชะ ขาพระพุทธเจ า ธนาคารไทยพาณิชย (จำกัด) มหาชน

• เป นวันแรกที่พระพุทธเจ าทรงประกาศศาสนาพุทธ • เป นวันแรกที่พระบรมศาสดาทรงแสดงพระธรรมจักร ประกาศสัจธรรม อันเป นองค แห งพระสัมมาสัมโพธิญาณ • เป นวันที่พระอริยสงฆ สาวกองค แรกบังเกิดขึ้นในโลก คือ พระอัญญาโกณฑัญญะ ได รับเอหิภิกขุอุปสัมปทาในวันนั้น • เป นวันแรกที่บังเกิดสังฆรัตนะสมบูรณ เป นพระรัตนตรัย คือ พระพุทธรัตนะ พระธรรมรัตนะ พระสังฆรัตนะ วันอาสาฬหบูชา ถูกจัดขึ้นเพื่อเป นการระลึกถึงวันคล ายวันที่เกิดเหตุการณ สำคัญ ของพระพุทธศาสนา ประกาศสำนักสังฆนายกเรื่องกำหนดพิธีอาสาฬหบูชา ได สรุปเหตุการณ สำคัญที่เกิดขึ้นในวันอาสาฬหบูชาไว ดังนี้ วันอาสาฬหบูชา 13 กรกฎาคม 2565

วันเขŠ าพรรษา 14 กรกฎาคม 2565 วันเข าพรรษา เป นวันที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ า ทรงบัญญัติให พระภิกษุสงฆ จำพรรษาเป นเวลา 3 เดือน ในฤดูฝน ระหว างแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 เพื่อไม ให พระสงฆ ไปเหยียบย่ำข าวกล า ของชาวนาให ได รับความเสียหาย วันเข าพรรษามีประเพณีที่สำคัญ 2 ประเพณี ได แก ประเพณีแห เทียนพรรษาและประเพณีการถวายผ าอาบน้ำฝน ประเพณีแห เทียนพรรษานั้น เนื่องจากสมัยก อนพระภิกษุสงฆ ไม มีไฟฟ าใช ชาวบ านจึงหล อเทียนต นใหญ ขึ้น เพื่อถวายพระภิกษุสงฆ จุดให แสงสว างในการปฏิบัติกิจวัตรต างๆ เป นพุทธบูชาตลอดเวลา 3 เดือน การนำเทียนไปถวาย ชาวบ านมักจัดขบวนแห กันอย างเอิกเกริก สนุกสนาน และปฏิบัติสืบทอดกันมาจนกลายเป นประเพณี

ขอพระองคทรงพระเจริญ ด วยเกล าด วยกระหม อม ขอเดชะ ขาพระพุทธเจ า ธนาคารไทยพาณิชย จำกัด (มหาชน) วันเฉลิมพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระเจŠ าอยู หัว 28 กรกฎาคม 2565

วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจŠ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันป หลวง และวันแม แห งชาติ 12 สิงหาคม 2565 เมื่อป 2519 คณะกรรมการอำนวยการสภาสังคมสงเคราะห แห งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ ได กำหนดวันแม ขึ้น โดยนำมาจากวันเฉลิมพระชนมพรรษา ของสมเด็จพระนางเจ าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันป หลวง คือวันที่ 12 สิงหาคมของทุกป เป น "วันแม แห งชาติ" ดอกไม สัญลักษณ ของวันแม คือ "ดอกมะลิ" ดอกไม สีขาวบริสุทธิ์ กลิ่นหอมตลอดทั้งป เหมาะแก การแสดงสัญลักษณ แห งความดีงาม และความสัมพันธ ของแม ลูกได เป นอย างดี วันแม แห งชาติ หรือที่เราเรียกสั้นๆ ว า "วันแม " เป นวันสำคัญที่ทำให คนไทยได ระลึกถึงพระคุณของแม ผู ให กำเนิด หรือบุคคลผู ให ชีวิต เลี้ยงดู มอบความอบอุ น ผู ผลักดันให เกิดสิ่งดีๆ ขึ้น ในวันหยุดวันนี้จึงเป นโอกาสดีที่ลูกจะนำพวงมาลัยไปกราบขอพรจากแม และไปทำบุญตักบาตรที่วัดร วมกัน มีชวงเวลาที่น าจดจำ สร างความอบอุ นยิ่งขึ้นภายในครอบครัว

เตรียมตัวอย างไรในวันปวารณาออกพรรษา? เมื่อถึงวันเทโวโรหณะ (วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) หรือวันถัดมา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 11) ในบางแห งพุทธศาสนิกชนนิยมไปทำบุญตักบาตรที่วัด โดยมีการปฏิบัติตนดังนี้ เตรียมอาหารตักบาตรเป นพิเศษ คือ ข าวต มมัดและข าวต มลูกโยน วัดบางวัดอาจจะจำลองสถานการณ วันที่พระพุทธเจ าเสด็จลงจากเทวโลกชั้นดาวดึงส คือ ประชาชนจะนั่งหรือยืนสองฝ งทางลงอุโบสถหรือศาลา ให พระสงฆ เดินเข าแถวเรียงลำดับรับบาตรตรงกลาง โดยมีมัคนายกเดินอัญเชิญพระพุทธรูปนำหน าแถวพระสงฆ หลังจากตักบาตรแล ว มีการอาราธนาศีล สมาทานศีล และรักษาศีลฟ งธรรม และทำสมาธิตามโอกาส เพื่อทำให จิตใจบริสุทธิ์ผ องใส แผเมตตา และกรวดน้ำอุทิศส วนกุศล ให กับญาติและผู ล วงลับ และสรรพสัตว เทโวโรหณะ แปลว า การเสด็จลงจากเทวโลก (ของพระพุทธเจ า) เป นเหตุการณ ตอนหนึ่งของพระพุทธเจ า คือ ในพรรษาที่ 7 ได เสด็จขึ้นไปจำพรรษาบนเทวโลก คือ บนสวรรค ชั้นดาวดึงส เพื่อแสดงธรรมโปรดพุทธมารดา ครั้นถึงวันมหาปวารณา เสด็จจากเทวโลกในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ตำนานเล าว า พระอินทร ทรงนิมิต บันได 3 อยางถวาย คือ บันไดทอง บันไดแก วมณี บันไดเงิน หัวบันไดพาดอยู ที่ยอดเขาสิเนรุ เชิงบันไดอยู ที่ประตูเมืองสังกัสสนคร เวลาเสด็จลงทรงใช บันไดแก วมณี เหล าเทวดา ลงทางบันไดทอง เหล ามหาพรหมลงทางบันไดเงิน เรียกการเสด็จครั้งนั้นว า "เทโวโรหณะ" วันปวารณาออกพรรษา 10 ตุลาคม 2565

วันคลŠ ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 13 ตุลาคม 2565 วันสำคัญของปวงชนชาวไทยทุกคน วันที่ 13 ตุลาคมของทุกป คือ วันคล ายวันสวรรคต ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทุกหน วยงานจะร วมกันสวมเสื้อสีเหลืองโดยพร อมเพรียง เพื่อน อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค ท าน ที่ช วยให เหลาพสกนิกรชาวไทยผ านวิกฤติต างๆ ด วยพระบารมี และความเมตตากรุณาในฐานะพระมหากษัตริย เสมอมา พวกเราชาวไทยทุกคนจะน อมนำหลักคำสอน และพระราชดำริของพระองค ท านมาปรับใช ในชีวิตประจำวันสืบไป

เป นวันคล ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล าเจ าอยู หัว รัชกาลที่ 5 เป นวันที่พสกนิกรชาวไทยร วมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ ด วยทรงพระปรีชาสามารถในการวางรากฐานปรับปรุงเปลี่ยนแปลงประเทศไทย ให เจริญก าวหน ารุ งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ พระบรมราโชวาทในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจ าอยู หัว พระราชทานแก ขาราชการตำรวจ "...การจับผู ร ายนั้นไม ถือเป นความชอบ เป นแต นับว าผู นั้นได กระทำการครบถ วน แก หน าที่เท านั้น แต จะถือเป นความชอบต อเมื่อได ปกครองป องกันเหตุร าย ให ชีวิตและทรัพย สมบัติของขาแผ นดินในท องที่นั้น อยู เย็นเป นสุขพอสมควร..." วันป– ยมหาราช 23 ตุลาคม 2565

3 วิธีเตรียมตัวในวันลอยกระทง ให เป นมิตร ปลอดภัย สุขใจตลอดคืน เป นมิตร : ทำกระทงด วยวัสดุธรรมชาติ เพื่อเป นมิตรกับสิ่งแวดล อม ปลอดภัย : แต งกายสุภาพ ไม ล อแหลม เลือกพื้นที่ที่มีคนพลุกพล านและไม เปลี่ยว ไร แอลกอฮอล : ป องกันอุบัติเหตุและภัยร ายจากการขาดสติเมื่อดื่มของมึนเมา วันลอยกระทง 8 พฤศจิกายน 2565

วันนี้ของทุกป เป นวันคล ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ถือเป น "วันชาติ" และยังเป น "วันพ อแห งชาติ" เนื่องด วยพ อเป นบุคคลผู มีความสำคัญ มีบทบาทต อครอบครัวเป นอย างมาก และเพื่อตอบแทนพ อผู มีพระคุณ ผู เป นลูกจึงควรให ความเคารพ เชื่อฟ งและกตัญู กิจกรรมที่ทำร วมกันในวันนี้ คือ การได ไปทำบุญตักบาตร วันนี้จึงเป นวันหยุดที่ช วยให ครอบครัวได ใช เวลาอยู ร วมกันพร อมหน า เพิ่มความใกล ชิดสนิทสนมกันมากขึ้น วันคลŠ ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร วันชาติ และวันพ อแห งชาติ 5 ธันวาคม 2565

เป นวันที่ระลึกถึงพระบาทสมเด็จพระปกเกล าเจ าอยู หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล าฯ พระราชทานรัฐธรรมนูญ แห งราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2475 เป นรัฐธรรมนูญถาวรฉบับแรกของประเทศไทย รัฐธรรมนูญ หมายถึง กฎหมายสูงสุดในการจัดการปกครองรัฐ หากแปลตามความหมายของคำจะหมายถึง การปกครองรัฐอย างถูกต องเป นธรรม (รัฐ + ธรรม + มนูญ) ในความหมายอย างแคบ "รัฐธรรมนูญ" ต องมีลักษณะเป นลายลักษณ อักษร วันพระราชทานรัฐธรรมนูญ 10 ธันวาคม 2565

วันสิ้นป 31 ธันวาคม 2565 3 เทคนิค เตรียมใจ ก าวสู ป ใหม สดใสร าเริง ล างใจ ทบทวนสิ่งต างๆ ในป ที่ผ านมา เลือกเก็บความทรงจำที่ดี ลืมเรื่องร ายๆ ทิ้งไป เป ดใจ ตั้งเป าหมาย ไม กลัวกับการเปลี่ยนแปลงสิ่งใหม ๆ ที่กำลังจะเกิดขึ้นในป หน า ให ใจ ทุกคนรอบข าง การให คือ สัญญาณแห งการสานสัมพันธ ความผูกพัน

วันก อตั้ง ธนาคารไทยพาณิชย จำกัด (มหาชน) 30 มกราคม 2565 ประวัติ ธนาคารไทยพาณิชย จำกัด (มหาชน) ธนาคารไทยพาณิชย สถาบันการเงินไทยแห งแรกของประเทศ ก อกำเนิดขึ้นเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2447 โดยพระเจ าน องยาเธอกรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล าเจ าอยู หัว ซึ่งทรงได รับการยกย องเป นบิดาแห งวงการธนาคารไทย ในขั้นแรกทรงริเริ่มดำเนินกิจการธนาคารพาณิชย เป นการทดลองในนาม "บุคคลัภย " (Book Club) โดยใช อาคารของกรมพระคลังข างที่ ตำบลบ านหม อเป นสำนักงาน เมื่อกิจการของบุคคลัภย เจริญรุดหน าไปด วยดี จึงได รับพระบรมราชานุญาตจาก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล าเจ าอยู หัว โปรดเกล าฯ ให ก อตั้งธนาคารขึ้นในวันที่ 30มกราคมพ.ศ.2449 และใช ชื่อว า "แบงก สยามกัมมาจลทุนจำกัด" เริ่มแรกเป ดดำเนินการ ในอาคารที่ทำการของบุคคลัภย เดิม โดยได รับพระบรมราชานุญาตให ใช "ตราอาร มแผ นดิน" เป นตราประจำธนาคาร ต อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล าเจ าอยู หัว ทรงยกเลิกตราอาร มแผ นดินเปลี่ยนเป นตราครุฑ ตราของธนาคารจึงได เปลี่ยนเป นตราครุฑ โดยมีข อความจารึกพิเศษว า "ตั้งโดยพระบรมราชานุญาต" จากการเติบโตของธนาคารภายใต การขยายตัวของเศรษฐกิจ จึงมีความจำเป นที่จะต อง แสวงหาที่ทำการแห งใหม ในป พ.ศ.2451 จึงได สร างสำนักงานชั่วคราวขึ้นที่ตลาดน อย ริมฝ งแม น้ำเจ าพระยาซึ่งเป นศูนย กลางธุรกิจและการค าที่สำคัญในขณะนั้น และดำเนินการ สร างสำนักงานแห งใหม จนแล วเสร็จ ในป พ.ศ.2453 และเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงชื่อประเทศ จาก "สยาม" เป น "ประเทศไทย" ธนาคารจึงได เปลี่ยนชื่อเป น "ธนาคารไทยพาณิชย จำกัด" เมื่อวันที่ 27 มกราคม พ.ศ.2482 ตามการเปลี่ยนแปลงชื่อประเทศ จนกระทั่งป พ.ศ.2514 มีการขยายตัวของธุรกิจเป นอย างมากทำให ธนาคารประสบป ญหา ความคับแคบของสถานที่ทำงานอีกครั้งหนึ่ง ธนาคารจึงได สร างอาคารสำนักงานใหญ แห งใหม ที่ตำบลประตูน้ำ ถนนเพชรบุรี ซึ่งเป นศูนย กลางเศรษฐกิจในขณะนั้น และได รับ การจดทะเบียนให ใช ชื่อว า "ธนาคารไทยพาณิชย จำกัด (มหาชน)" เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ พ.ศ.2536 ด วยความเจริญทางเศรษฐกิจและความก าวหน าทางเทคโนโลยี ธนาคารได เล็งเห็นถึง ศักยภาพของย านรัชโยธิน ซึ่งคาดว าจะเป นศูนย กลางธุรกิจที่มีความสำคัญ จึงได สร าง สำนักงานใหญ แห งใหม ที่ทันสมัยพร อมด วยเทคโนโลยีบริเวณสี่แยกรัชโยธิน ถนนรัชดาภิเษก และเป ดอย างเป นทางการเมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ.2539 จนถึงป จจุบัน ตลอดระยะเวลา 115 ป ธนาคารไทยพาณิชย มีบทบาทสำคัญในการให บริการทางการเงิน ในประเทศไทย ผ านวัฏจักรเศรษฐกิจมากมาย ก อให เกิดความเชี่ยวชาญอย างต อเนื่อง ณ วันนี้ ธนาคารไทยพาณิชย เป นธนาคารที่ให บริการทางการเงินครบวงจรชั้นนำ ของประเทศ นำเสนอผลิตภัณฑ และบริการที่หลากหลาย เพื่อตอบสนองต อความต องการ ของลูกค าทุกกลุ ม

RkJQdWJsaXNoZXIy ODEyMzQ3